การบริการวิชาการ
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม
ชื่อ
หน้าที่
ศิริญญา วิรุณราช
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
ประเภทเป้าหมาย
เป้าหมาย
ที่อยู่
จำนวนคน
ชุมชน
วิสาหกิจชุมชน แปลงนายายพึ่ง
เลขที่ 28/1 หมู่ที่ 8 ถนน ตำบลคลองสี่ อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
5
ชุมชน
กลุ่มพัฒนาอาชีพ วัดบางเดื่อ
เลขที่32 หมู่ที่5 ตาบลบางเดื่อ อาเภอเมืองปทุมธานีจังหวัดปทุมธานี
5
ชุมชน
ปุ๋ยน้ำชีวภาพ ST.ใบโอ
0
ชุมชน
กลุ่มกระเป๋าผ้าบ้านคลองห้า
0
ชุมชน
กลุ่มแม่บ้านพริกแกงพวงแก้ว
0
service Form
ชื่อโครงการบริการวิชาการ
ประเภท
ประเภทบริการวิชาการ
ประเภทงบประมาณ
ให้เปล่า
จัดเก็บรายได้
วงเงินงบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
เจ้าของทุน
องค์ความรู้
1.ด้านเศรษฐกิจ: เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชนเพิ่มมากขึ้นรวมถึงสมาชิกมีการจดบันทึกบัญชีรับ – จ่าย บัญชีต้นทุนของกลุ่ม มีผลิตภาพ (Productivity) เพิ่มขึ้น/ปริมาณการขายเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น/ลดต้นทุน 2.ด้านสังคมและชุมชน: การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การช่วยเหลือเกื้อกูลกันการจัดสวัสดิการเพื่อประโยชน์ชุมชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3.ด้านความยั่งยืน: ชุมชนเกิดการเรียนรู้มีความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญและสามารถนำไปคิดต่อยอดองค์ความรู้เองได้
เป้าหมาย
พัฒนามูลค่าของผลิตผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสร้างมูลค่าเพิ่ม ในผลิตภัณฑ์ และบริการแก่กลุ่มชุมชน ต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างโอกาสทางการตลาด และการแข่งขัน ส่งผลต่อความเข้มแข็งของระบบเศรษฐก
การบูรณาการ
-
ผลกระทบ
พัฒนามูลค่าของผลิตผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสร้างมูลค่าเพิ่ม ในผลิตภัณฑ์ และบริการแก่กลุ่มชุมชน
ผลลัพธ์
1. ธุรกิจชุมชน: สามารถพัฒนาคุณค่าและมูลค่าของผลิตผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและสร้างมูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์และบริการแก่กลุ่มองค์กรชุมชนการต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นและสร้างโอกาสทางการตลาดและการแข่งขันส่งผลต่อความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืนรวมถึงสามารถฝึกทักษะการเป็นผู้ประกอบการโดยผสมผสานภูมิปัญญาในท้องถิ่นกับความรู้ทางวิทยาการสมัยใหม่เพื่อให้เกิดอาชีพและรายได้ที่มั่นคง 2. ธุรกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มมากยิ่งขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 และสามารถบริหารจัดการเงินหมุนเวียนได้ด้วยตนเอง 3. มหาวิทยาลัยฯ : เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาการสมัยใหม่ที่สามารถสร้างประโยชน์เป็นรูปธรรมที่วัดและประเมินผลได้อย่างชัดเจน รวมถึงสามารถพัฒนาองค์ความรู้เป็นหลักการแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ และสร้างเครือข่ายกับชุมชน 4. นักศึกษา : ได้รับความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าของทรัพยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถฝึกทักษะการเป็นผู้ประกอบการโดยมีโอกาสพัฒนาเป็นอาชีพเพื่อให้มีรายได้เลี้ยงตนเองได้ 5. ธนาคารออมสิน: ได้รับความรู้ความเข้าใจในบริบทของธุรกิจชุมชนที่สามารถพัฒนาธุรกิจของธนาคารให้ตอบสนองความต้องการของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพทำให้ลดความเสี่ยงด้านสินเชื่อและมีฐานลูกค้าเพิ่มมากขึ้น