การบริการวิชาการ
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม
ชื่อ
หน้าที่
ณัทณรงค์ จตุรัส
คณะกรรมการอำนวยการ
มาลี จตุรัส
คณะกรรมการอำนวยการ
รังสรรค์ สุวรรณหงส์
คณะกรรมการอำนวยการ
วสันต์ กันอ่ำ
คณะกรรมการอำนวยการ
ณชญาภัส เคาท์เทน
คณะกรรมการดำเนินงาน
กิ่งกาญจน์ มูลเมือง
คณะกรรมการอำนวยการ
สัญจิตา พรมโชติ
คณะกรรมการอำนวยการ
สลิตตา สาริบุตร
คณะกรรมการอำนวยการ
อดิศร ฉายแสง
คณะกรรมการอำนวยการ
อัครวัฒน์ จตุพัฒน์วโรดม
คณะกรรมการอำนวยการ
บุญฑริกกา วงษ์วานิช
คณะกรรมการอำนวยการ
กล้าหาญ ณ น่าน
คณะกรรมการอำนวยการ
อภิสิทธิ์ ตั้งเกียรติศิลป์
คณะกรรมการดำเนินงาน
พรนภา เปี่ยมไชย
คณะกรรมการดำเนินงาน
นฤมล จิตรเอื้อ
คณะกรรมการดำเนินงาน
สุรมงคล นิ่มจิตต์
คณะกรรมการดำเนินงาน
มะดาโอะ สุหลง
คณะกรรมการดำเนินงาน
ปิยฉัตร บูระวัฒน์
คณะกรรมการดำเนินงาน
กฤษดา เชียรวัฒนสุข
คณะกรรมการดำเนินงาน
ดวงพร พุทธวงค์
คณะกรรมการดำเนินงาน
เบญจวรรณ ศฤงคาร
คณะกรรมการดำเนินงาน
เสรี กรเพชร
คณะกรรมการอำนวยการ
พัทธ์ธีรา สถิตย์ภาคีกุล
คณะกรรมการดำเนินงาน
วริษฐา คงเขียว
คณะกรรมการดำเนินงาน
ธีทัต ตรีศิริโชติ
คณะกรรมการดำเนินงาน
ศิริญญา วิรุณราช
หัวหน้าโครงการ
นาถรพี ตันโช
คณะกรรมการอำนวยการ
ธัญวรัตน์ สุวรรณะ
คณะกรรมการอำนวยการ
กรรณิกา ศรีบุญเรือง
คณะกรรมการดำเนินงาน
จิราวัฒน์ แสงเป๋า
คณะกรรมการดำเนินงาน
พุทธิวัต สิงห์ดง
คณะกรรมการอำนวยการ
กนกพร ชัยประสิทธิ์
คณะกรรมการอำนวยการ
เมทินี รัษฎารักษ์
คณะกรรมการอำนวยการ
นพปฎล สุวรรณทรัพย์
คณะกรรมการดำเนินงาน
ณัฐปภัสษ์ จุ้ยเจริญ
คณะกรรมการดำเนินงาน
อาทิตย์ บุญญาภิสังขาร
คณะกรรมการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ประเภทเป้าหมาย
เป้าหมาย
ที่อยู่
จำนวนคน
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย
120
service Form
ชื่อโครงการบริการวิชาการ
ประเภท
ประเภทบริการวิชาการ
ประเภทงบประมาณ
ให้เปล่า
จัดเก็บรายได้
วงเงินงบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
เจ้าของทุน
องค์ความรู้
• ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) • ทักษะการแก้ปัญหา (Problem solving) • ทักษะการคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) • ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective communication) • ทักษะการเข้าใจผู้อื่น (Empathy) • ทักษะการจัดการกับอารมณ์และความเครียด (Coping with emotion and stress) • ทักษะการสร้างแรงจูงใจ และเข้าใจตัวเอง (Motivation and self-awareness) • ทักษะความยืดหยุ่น และความคล่องตัว (Resilience, flexibility and agility) • ทักษะความรู้ทางเทคโนโลยี (Technological literacy) • ทักษะความรู้ทางการเงิน (Financial literacy)
เป้าหมาย
1.เพื่อพัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะแห่งอนาคต (Future Skills) ของนักเรียนที่มีความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ 2.เพื่อพัฒนาสื่อเทคโนโลยีสำหรับครูใช้เ
การบูรณาการ
-
ผลกระทบ
1. จำนวนครูได้รับความรู้ความเข้าใจกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะแห่งอนาคต (Future Skills) 2. จำนวนาสื่อเทคโนโลยีสำหรับครูใช้เสริมสร้างทักษะแห่งอนาคต (Future Skills) ของนักเรียน 3. จำนวนระบบบริหารจัดการสื่อเทคโนโลยีเสริมสร้างทักษะแห่งอนาคต (Future Skills)
ผลลัพธ์
1. ครูผู้สอนของโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัยทั้ง 12 แห่ง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบกระบวนการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะแห่งอนาคต (Future Skills) สำหรับนักเรียนที่มีความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีถ่ายทอดสู่ผู้เรียนได้ 2. ครูผู้สอนของโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัยทั้ง 12 แห่ง มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ผ่านระบบบริหารจัดการสื่อแบบออนไลน์ ครูและนักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบออนไลน์ ตลอดจนสามารถขยายวงกว้างสู่ชุมชนครูโรงเรียนอื่นๆ ได้อย่างกว้างขวาง 3. นักเรียนกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัยได้รับการเสริมสร้างทักษะแห่งอนาคต (Future Skills) ส่งผลให้นักเรียนสามารถใช้เหตุผล รู้จักเลือกใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสมและมีความสุขในสังคมโลกยุคใหม่