การบริการวิชาการ
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม
ชื่อ
หน้าที่
มาลี จตุรัส
คณะกรรมการอำนวยการ
วสันต์ กันอ่ำ
คณะกรรมการอำนวยการ
กิ่งกาญจน์ มูลเมือง
คณะกรรมการอำนวยการ
สัญจิตา พรมโชติ
คณะกรรมการอำนวยการ
สลิตตา สาริบุตร
คณะกรรมการอำนวยการ
กล้าหาญ ณ น่าน
คณะกรรมการอำนวยการ
มะดาโอะ สุหลง
คณะกรรมการดำเนินงาน
กฤษดา เชียรวัฒนสุข
คณะกรรมการดำเนินงาน
ดวงพร พุทธวงค์
คณะกรรมการดำเนินงาน
เบญจวรรณ ศฤงคาร
คณะกรรมการดำเนินงาน
วริษฐา คงเขียว
คณะกรรมการดำเนินงาน
ศิริญญา วิรุณราช
หัวหน้าโครงการ
ธัญวรัตน์ สุวรรณะ
คณะกรรมการอำนวยการ และคณะกรรมการดำเนินงาน
จิราวัฒน์ แสงเป๋า
คณะกรรมการดำเนินงาน
วาสนา ศิลป์รุ่งธรรม
คณะกรรมการอำนวยการ
กลุ่มเป้าหมาย
ประเภทเป้าหมาย
เป้าหมาย
ที่อยู่
จำนวนคน
service Form
ชื่อโครงการบริการวิชาการ
ประเภท
ประเภทบริการวิชาการ
ประเภทงบประมาณ
ให้เปล่า
จัดเก็บรายได้
วงเงินงบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
เจ้าของทุน
องค์ความรู้
1.ด้านเศรษฐกิจ: เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่สมาชิกในชุมชนเพิ่มมากขึ้นรวมถึงสมาชิกมีการจดบันทึกบัญชีรับ – จ่าย บัญชีต้นทุนของกลุ่ม มีผลิตภาพ (Productivity) เพิ่มขึ้น/ปริมาณการขายเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น/ลดต้นทุน 2.ด้านสังคมและชุมชน: การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การช่วยเหลือเกื้อกูลกันการจัดสวัสดิการเพื่อประโยชน์ชุมชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3.ด้านความยั่งยืน: ชุมชนเกิดการเรียนรู้มีความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญและสามารถนำไปคิดต่อยอดองค์ความรู้เองได้
เป้าหมาย
พัฒนามูลค่าของผลิตผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสร้างมูลค่าเพิ่ม ในผลิตภัณฑ์ และบริการแก่กลุ่มชุมชน ต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างโอกาสทางการตลาด และการแข่งขัน ส่งผลต่อความเข้มแข็งของระบบเศรษฐก
การบูรณาการ
-
ผลกระทบ
พัฒนามูลค่าของผลิตผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และสร้างมูลค่าเพิ่ม ในผลิตภัณฑ์ และบริการแก่กลุ่มชุมชน
ผลลัพธ์
1. ธุรกิจชุมชน: สามารถพัฒนาคุณค่าและมูลค่าของผลิตผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและสร้างมูลค่าเพิ่มในผลิตภัณฑ์และบริการแก่กลุ่มองค์กรชุมชนการต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นและสร้างโอกาสทางการตลาดและการแข่งขันส่งผลต่อความเข้มแข็งของระบบเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืนรวมถึงสามารถฝึกทักษะการเป็นผู้ประกอบการโดยผสมผสานภูมิปัญญาในท้องถิ่นกับความรู้ทางวิทยาการสมัยใหม่เพื่อให้เกิดอาชีพและรายได้ที่มั่นคง 2. ธุรกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มมากยิ่งขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 และสามารถบริหารจัดการเงินหมุนเวียนได้ด้วยตนเอง 3. มหาวิทยาลัยฯ : เป็นแหล่งเรียนรู้ทางวิทยาการสมัยใหม่ที่สามารถสร้างประโยชน์เป็นรูปธรรมที่วัดและประเมินผลได้อย่างชัดเจน รวมถึงสามารถพัฒนาองค์ความรู้เป็นหลักการแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ และสร้างเครือข่ายกับชุมชน 4. นักศึกษา : ได้รับความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าของทรัพยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถฝึกทักษะการเป็นผู้ประกอบการโดยมีโอกาสพัฒนาเป็นอาชีพเพื่อให้มีรายได้เลี้ยงตนเองได้ 5. ธนาคารออมสิน: ได้รับความรู้ความเข้าใจในบริบทของธุรกิจชุมชนที่สามารถพัฒนาธุรกิจของธนาคารให้ตอบสนองความต้องการของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพทำให้ลดความเสี่ยงด้านสินเชื่อและมีฐานลูกค้าเพิ่มมากขึ้น